บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2556
เวลาเรียน วันศุกร์ 11:30-14:00 น.
การเรียนการสอนในวันนี้
6. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Chidren with Behavioral and...
- เด็กที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกตินานๆไม่ได้
- เด็กที่ควบคุมพฤติกกรมบางอย่างของตนเองไม่ได้
- ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย
- เด็กที่ไดรับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์
- เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้
- วิตกกังวล
- หนีสังคม
- ก้าวร้าว
- สภาพแวดล้อม
- ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล
- ไม่สามารถเรียนหนังสือเช่นเด็กปกติได้
- รักษาความสัมพันธ์กับเพื่อน หรือครูไม่ได้
- มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกัน
- มีความคับของใจ และมีความเก็บกดทางอารมณ์
- แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ
ปวดตามส่วนต่างๆของร่างกาย
- มีความหวาดกลัว
- เด็กสมาธิสั้น (Children with attention deficult and hyperactivity
disorders)
- เด็กออทิสติก (Autistic) หรือ
(Autisium)
- เด็กที่ซนไม่อยู่นิ่ง ซนมากผิดปกติ เคลื่อนไหวตลอดเวลา
- มีปัญหาด้านสมาธิบกพร่อง
อาการหุนหันพลันแล่น ขาดความยับยั้งชั่งใจ เด็กเหล่านี้ทางการแพทย์ เรียกว่า Attention defici disorders(ADD)
- อุจจาระ ปัสสาวะ รดเสื้อผ้า
- ยังติดขวดนม ตุ๊กตา ของใช้วัยทารก
- ดูดนิ้ว กัดเล็บ
- หงอยเหงา เศร้าซึม การหนีสังคม
- เรียกร้องความสนใจ
- อารมณ์หวั่นไหวง่ายต่อสิ่งเร้า
- ขี้อิจฉา ริษยา ก้าวร้าว
- ฝันกลางวัน
- พูดเพ้อเจ้อ
- ไม่บกพร่องทางร่างกาย สมองปกติ ร่างกายปกติ
- เรียกย่อๆว่า L.D.
- เด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
- เด็กมีปัญหาทางการใช้ภาษาพูด เขียน
- ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน ด็กที่มีปัญหาเนื่องจากความพิการ หรือ บกพร่องทางร่างกาย
ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
- มีปัญหาในทักษะทางคณิตศาสตร์
- ปฏิบัติตามคำสั่งไม่ได้
- เล่าเรื่องลำดับเหตุการณ์ไม่ได้
- มีปัญหาเรื่องการอ่านเขียน
- ซุ่มซ่าม
- รับลูกบอลไม่ได้
- ติดกระดุมไม่ได้
- เอาแต่ใจตนเอง
- หรือ ออทิสซึม
- เด็กที่มีความบกพร่องอย่างรุนแรงในการสื่อความหมาย พฤติกรรมสังคม และความสามารถในทางสติปัญญาในการรับรู้
- เด็กออทิสติก แต่ละคนมีเอกลักษณ์ของตนเอง ติดตัวเด็กไปตลอดชีวิต
ลักษณของเด็กออทิสติก
- อยู่ในโลกของตนเอง
- ไม่เข้าไปหาใครเพื่อให้ปลอบใจ
- ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
- ไม่ยอมพูด
- เคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ
- เด็กอัจฉริยะ
- ยึดติดวัตถุ
- ต่อต้าน หรือ แสดงกิริยาอารมร์รุนแรง และไร้เหตุผล
- มีทีท่าเหมือนคนหูหนวก
- ใช้วิธีการสัมผัสและเรียนรู้สิ่งต่างๆด้วยวิธีการสากลทั่วไป
- เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่า 1 อย่าง ดป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
- เด็กปัญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
- เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
- เด็กที่หูหนวก ตาบอด
7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ (Children with Learnning Disabilities)
8. ออทิสติก(Autistic)
9. เด็กพิการซ้อน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น