บันทึกอนุทิน
วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 6ธันวาคม2556
เวลาเรียน วันศุกร์ 11:30-14:00 น.
การเรียนการสอนในวันนี้
-ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
-มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุด
-ภาวะตับเป็นพิษ
-ระดับสติปัญญาต่ำ
3.การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
การเรียนการสอนในวันนี้
พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
- การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะ
- ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
- เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
- พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านในด้านหนึ่ง หลายด้านหรือทุกด้าน
- พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าไปด้วย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาเด็ก
- ปัจจัยทางชีวภาพ
ด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
-กระบวนการคลอด<คลอดออกมาอย่างไร<คลอดเอง
-สภาพแวดล้อมหลังคลอด<การเลี้ยงดู
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
- โรคทางพันธุกรรม
-เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิด มักมีลักษณะผิดปกติแต่กำเนิดร่วมด้วย เช่น ดาวน์ซินโดม โลหิตจาง เบาหวาน ยีนส์ ท้าวแสนปม - โรคของระบบประสาท
-เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย ที่พบบ่อยคือ อาการชัก - การติดเชื้อ
-การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติ อาจมีตับม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก นอกจากนี้ การติดเชื้อรุนแรงภายหลังเกิด เช่น สมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เป็นสาเหตุที่พบได้บ้าง - ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
-โรคที่ยังเป็นสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฉฮอร์โมนในเลือดต่ำ - ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
-การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย และภาวะขาดออกซิเจน
-ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
-มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุด
-ภาวะตับเป็นพิษ
-ระดับสติปัญญาต่ำ
แอลกอฮอล์
-น้ำหนักแรกเกิดน้อย
-มีอัตราเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
-พัฒนาการของสติปัญญาที่มีความบกพร่อง
-เด็กมีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
-น้ำหนักแรกเกิดน้อย
-มีอัตราเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
-พัฒนาการของสติปัญญาที่มีความบกพร่อง
-เด็กมีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
Fetal alcohol syndrome,FAS
-ช่องตาสั้น
-ร่องริมฝีปากบนเรียบ
-ริมฝีปากขนาดยาวและบาง
-หน้าคลุมหัวตามาก
-จมูกแบน
-ปลายจมูกเชิดขึ้น
-ช่องตาสั้น
-ร่องริมฝีปากบนเรียบ
-ริมฝีปากขนาดยาวและบาง
-หน้าคลุมหัวตามาก
-จมูกแบน
-ปลายจมูกเชิดขึ้น
นิโคติน
-น้ำหนักน้อยขาดสารอาหาร
-เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก
-สติปัญญาบกพร่อง
-สมาธิสั้นพฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า1ด้าน
-มีปฏิกิริยาสะท้อน(Primitive reflex)ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
-น้ำหนักน้อยขาดสารอาหาร
-เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก
-สติปัญญาบกพร่อง
-สมาธิสั้นพฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า1ด้าน
-มีปฏิกิริยาสะท้อน(Primitive reflex)ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.การซักประวัติ
-โรคประจำตัว โรคพันธุกรรม
-การเจ็บป่วยในครอบครัว๋
-ประวัติฝากครรภ์
-พัฒนาการที่ผ่านมา
-การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
-ปัญหาพฤติกรรม
-ประวัติอื่นๆ
-โรคประจำตัว โรคพันธุกรรม
-การเจ็บป่วยในครอบครัว๋
-ประวัติฝากครรภ์
-พัฒนาการที่ผ่านมา
-การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
-ปัญหาพฤติกรรม
-ประวัติอื่นๆ
2.การตรวจร่างกาย
-ตรวจร่างกายทั่วไปและการเจริญเติบโต
-ภาวะตับม้ามโต
-ผิวหนัง
-ระบบประสาทและวัดศีรษะด้วยเสมอ
-ดูลักษณะเด็กที่ถูกทารุณกรรม
-ระบบการมองเห็นและการได้ยิน
-ตรวจร่างกายทั่วไปและการเจริญเติบโต
-ภาวะตับม้ามโต
-ผิวหนัง
-ระบบประสาทและวัดศีรษะด้วยเสมอ
-ดูลักษณะเด็กที่ถูกทารุณกรรม
-ระบบการมองเห็นและการได้ยิน
3.การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4.การประเมินพัฒนาการ
-การประเมินพัฒนาการ
-การประเมินที่ใช้แนวปฏิบัติ
-แบบทดลอง Denver
-Gesell Drawing Test
-แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กอายุแรกเกิด -3ปี สถาบันราชานุกูล
-การประเมินพัฒนาการ
-การประเมินที่ใช้แนวปฏิบัติ
-แบบทดลอง Denver
-Gesell Drawing Test
-แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กอายุแรกเกิด -3ปี สถาบันราชานุกูล
แนวทางในการดูแลรักษา
-หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
-การตรวจหาความผิดปกติร่วม
-การรักษาสาเหตุโดยตรง
-การส่งเสริมพัฒนาการ
-ให้คำปรึกษากับครอบครัว
ขั้นตอนในการดูแลเด็กพิเศษที่มีความต้องการพิเศษ
1.การตรวจคัดกรองพัฒนาการ
2.การตรวจประเมินพัฒนาการ
3.การให้การวินิจฉัยและหาสาเหตุ
4.การให้การรักษาและส่งเสริมพัฒนาการ
5.การติดตามและประเมินผลการรักษาเป็นระยะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น